knowledge
-เรื่องการทำงานของสมอง
-แนวคิดพื้นฐานวิทยาศาสตร์
-ฟังบทความจากเพื่อนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
การทำงานของสมอง
หลักการจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย จะต้องพัฒนาเด็กให้ครบทุกัฒนาการ เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมที่จัดต้องมีความสมดลยึดเด็กเป็นสำคัญ และต้องประสานสัมพันธ์กับครอบครัวและชมชน
การเรียนรู้แบบองค์รวม
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
-ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
-พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
-เสริมสร้างประสบการณ์
ประโยชน์ของการเรียนวิทยาศาสตร์
-พัฒนาความคิดรวบยอด
-พัฒนาทีกษะการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง
- ความแตกต่าง
- การปรับตัว
- ความสมดุล
- การพึ่งพาอาศัยกัน
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากรู้อยากเห็น
- ความเพียรพยายาม
- ความมีเหตุผล
- ความซื่อสัตย์
- ความมีระเบียบและรอบคอบ
- ความใจกว้าง
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1. ขั้นกำหนดปัญหา
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน
3. ขั้นรวบรวมข้อมูล
4. ขั้นลงข้อสรุป
*** นำเสนอบทความ ***
ของนางสาว สุจิตรา มาวงษ์
เรื่องแนวทางสอนคิดเติมวิทย์ให้เด็กอนุบาล
เน้นการเรียนรู้เเบบองค์รวม แนวทางการปฎิบัติที่จะเรียนรู้
1.การตั้งคำถาม
2.ตอบคำถามด้วยตนเอง โดยครูจัดประสบการณ์ให้
3.สิ่งที่เด็กค้นพบมาเเล้วครูช่วยเสริมคำตอบให้สมบูรณ์
4.เล่าให้เพื่อนฟัง
5.นำไปเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์
นางสาว ประภัสสร สีหบุตร
เรื่องแนวทางสอนคิดเติมวิทย์ให้เด็กอนุบาล
เน้นการเรียนรู้เเบบองค์รวม แนวทางการปฎิบัติที่จะเรียนรู้
1.การตั้งคำถาม
2.ตอบคำถามด้วยตนเอง โดยครูจัดประสบการณ์ให้
3.สิ่งที่เด็กค้นพบมาเเล้วครูช่วยเสริมคำตอบให้สมบูรณ์
4.เล่าให้เพื่อนฟัง
5.นำไปเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์
นางสาว ประภัสสร สีหบุตร
เทคนิคการเลือกนิทานให้เด็ก
ประโยชน์ที่ได้รับ
- เข้าใจ รับรู้อย่างมีเหตุผล
- สนุกสานเเละเพลิดเพลิน
ใช้นิทานเป็นสื่อในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สอดแทรกเนื้อหาที่มีความเกี่ยวข้อง เป็นเรื่องใกล้ตัวเเละเด็กสนใจ เช่นนิทานเรื่อง เรียนรู้สัตว์น่ารัก เกี่ยวกับชนิด ลักษณะ เป็นต้น โดยอาจมีสิ่งของมาประกอบ เช่น หุ่นมือ หุ่นนิ้ว วาดไปเล่าไป หรืออาจนำของจริงมาประกอบการเล่า
- เข้าใจ รับรู้อย่างมีเหตุผล
- สนุกสานเเละเพลิดเพลิน
2.ทักษะ (skill)
-นำเสนอบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- การฝึกคิดจินตนาการสิ่งที่จะประดิษฐ์เพื่อให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์
-การทำงานของสมองจัดลำดับอายุจะทำให้เกิด " พัฒนาการ " แต่ละช่วงวัย
3.การนำไปใช้ (Adoption)
- การฝึกคิดจินตนาการสิ่งที่จะประดิษฐ์เพื่อให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์
3.การนำไปใช้ (Adoption)
-การนำความรู้ที่ได้มาเป็นพื้นฐานในการคิดสิ่งประดิษฐ์ให้มีเนื้อหาสอดคล้องกับวิทยาศาสตร์
-การคิดประดิษฐ์ของเล่นเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-นำไปใช้ในเวลาจะออกแบบการสอนและการเขียนแผน
4.ประเมินการสอน
การประเมิน (Assessment)
การประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน มาเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบเรียบร้อย
มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียน
การประเมินเพื่อน
แต่งกายเรียบร้อย การทำกิจกรรมและการแสดงความคิดเห็น แต่งกายมาเรียนถูกระเบียบเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน
การประเมินผู้สอน
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย มีการเตรียมตัวมาสอนและมีการใช้คำถาม ถามกับนักศึกษาเสมอเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้คิดคำตอบ และอาจารย์จะมีการเสริมความรู้ให้ทุกครั้ง เพื่อให้นักศึกษาเข้ามากยิ่งขึ้น
การประเมินห้องเรียน
บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด โต๊ะเพียงพอต่อผู้เรียน