วันอาทิตย์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Record 14 Tuesday 17 November 2015

Record 14 

Cooking ขนมโค ข้าวจี่ หวานเย็น





อุปกรณ์การทำขนมโค ( Equipment )
แป้งข้าวเหนียว
  1. น้ำเปล่า
  2. น้ำตาลแว่น หรือไส้
  3. มะพร้าวทึกขูด 
  4. หม้อต้ม
  5. สีผสมอาหาร

ขั้นตอนการทำขนมโค


1. ตักแป้งใส่ถ้วย 3 ช้อนโต้ะ จากนั้นเทสีผสมอาหาร จากนั้นคลุกเคล้าให้เป็นเนื้อเดียวกัน
2. นำไส้มาใส่โดยไส้ที่เตรียมไว้มีทั้ง น้ำตาลก้อน ไส้เค็มและไส้หวาน
3. ไส้เสร็จก็ปั้นเป็นก้อนกลมๆ เเละนำไปสู่ขั้นตอนต้มโดยใส่ลงไปในหม้อที่น้ำเดือด
4. เมื่อเวลาผ่านไปก้อนเเป้งก็จะลอยขึ้นมาเป็นสิ่งที่บ่งบอกว่าขนมสุกเเล้ว
พร้อมโรยมะข้าวเป็นอันเสร็จสิ้นน่ารับประทาน


กระบวนการวิทยาศาสตร์การทำขนมโค

กำหนดปัญหา - จะทำอย่างไห้แป้งกินได้
ตั้งสมมติฐาน - ถ้าเอาแป้งลงเตาจะเกิดอะไรขึ้น แล้วรวบรวมข้อมูล
ทดลองและสังเกต - การเปลี่ยนแปลงของสี ขนาด 
สรุป - ว่าแป้งที่ลอยขึ้นแสดงว่าสุกและตักขึ้นมาคลุกกับมะพร้าวพร้อมรับประทาน

_______________________________________________



อุปกรณ์การทำข้าวจี่ ( Equipment )


  • ข้าวเหนียว (rice)
  • ไข่ไก่ (egg)
  • ไก่หยอง 
  • ซอสปรุงรส 
  • ไม้เสียบข้าวจี่ 
  • ถ้วย ( Cup )
  • จาน ( Stove )



  • ขั้นตอนการทำข้าวจี่ 

    1.นำข้าวเหนี่ยวมาใส่ไส้จากนั้นก็ปั้นให้เป็นก้อนกลมๆเเล้วใช้ไม้ตะเกียบเสียบเข้าไปตรงกลาง 
    2.จากนั้นนำไปย่างบนเตาเมื่อสีข้าวเริ่มเปลี่ยน
    3.นำไปชุปกับไข่เเล้วนำมาย่างอีกทีเพื่อให้ไข่สุก 
    4.ข้าวจี่สุกเหลืองกลิ่นหอมสีสันน่ารับประทาน


    กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การทำข้าวจี่

    กำหนดปัญหา - เด็กคิดว่าจะทำอย่างไรให้ไข่สุก
    ตั้งสมมติฐาน - ถ้าเด็กๆนำไปปิ้งจะเป็นอย่างไร
    ลงมือทดลอง - โดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสี กลิ่น
    สรุป - เมื่อข้าวและไข่สุกกลายเป็นข้าวจี่

    __________________________________________________




    อุปกรณ์การทำหวานเย็น ( Equipment )
    1. น้ำแข็ง
    2. น้ำหวานเฮลบลูบอย / น้ำส้ม / น้ำเขียว 
    3. นมข้น
    4. เกลือ
    5. ไม้พายสำหรับคน
    6. กาละมังเล็ก
    ขั้นตอนการทำ

    1.ตักน้ำเเข็งใส่กาละมังใหญ่พอสมควรเเละเติมเกลือลงไป
    จากนั้นถ้วยเล็กก็ใส่น้ำหวาน 
    2.เขย่าไปกันคนละทางบนถ้วยน้ำเเข็งพร้อมทั้งคนไปทิศทางเดียวกัน
    3.เวลาผ่านไปน้ำหวานที่เหลวๆก็จะ
    ค่อยๆเปลี่ยนเป็นเกล็ดน้ำเเข็งเเละจับตัวกัน
    เป็นเหมือนน้ำเเข็งไสสีสันน่าทาน


    กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การทำหวานเย็น

    กำหนดปัญหา - ทำอย่างไรให้น้ำหวานเป็นหวานเย็น 
    ตั้งสมมติฐาน - เด็กๆลองคนสิจะเกิดอะไรขึ้น 
    ทดลงและสังเกต - การเปลี่ยนแปลงของน้ำหวานกลายเป็นหวานเย็น


    _______________________________________________


    นางสาวกมลรัตน์ มาลัย นำเสนอโทรทัศน์ครู
    เรื่อง ดินน้ำมันลอยน้ำได้อย่างไร
    เน้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต การวิเคราะห์ การสื่อความหมาย การตั้งสมมติฐาน โดยให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง ให้สำรวจสิ่งต่างๆรอบตัว เด็กทดลองเพื่อหาว่าอะไรลอยได้บ้าง



    Skills (ทักษะ)

    1. ทักษะที่ได้รับการสังเกต เด็กได้สังเกตว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้างสังเกตการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆที่เกี่ยวกับสีของข้าวmการเปลี่ยนเเปลงของหวานเย็น การเปลี่ยนแปลงของขนมโค
    2. การจำเเนก เปรียบเทียบ
    3. การวัด เด็กได้รู้จักการตวงส่วนผสมควรใช้สัดส่วนเท่าไหร่
    4. การลงความเห็น  เด็กชอบสีหวานเย็นสีไหนมากที่สุด  ชอบกินขนมโคไส้ไหนมากที่สุด ชอบกินข้าวจี่เเบบใส่ไส้หรือไม่ใส่ไส้มากกว่ากัน
    5. มิติสัมพันธ์ คำนวนเวลาว่าควรใช้เวลาเท่าไหร่ข้าวจี่เเละขนมโคถึงจะสุกเเล้วน่าทานเเละเขย่าน้ำหวานนานเเค่ไหนถึงจะเป็นหวานเย็น
    6.  การคำนวน คำเวลาว่าควรจะกลับด้านวลาไหน ปิ้งเเต่ละข้างนานเท่าไหร่



    Technique  (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)



    1.เกิดได้ลงมือทำด้วยตนเอง เช่น การตักส่วนผสม 
     

    2.การเเก้ปัญหาด้วยตนเอง ว่าควรจะมีวิธีการอย่างไรให้ได้ข้าวจี่ ขนมโค หวานเย็น
    3. เกิดความรสชาติที่อร่อยและรูปร่างสวยงาม
    ฝึกได้เด็กรู้จักการสังเกตจากเพื่อนว่าเพื่อนทำอย่างไรเเละนำมาปรับปรุงของตนเอง

    Assessment (การประเมิน)


    ตนเอง   : เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจทำคือการจัดกิจกรรม

    เพื่อน : เข้าเรียนตรงเวลา  และตั้งใจร่วมกันทำกิจกรรมในห้องเรียนได้เป็นอย่างดี สนุกสนานกันในการเรียนวิชานี้

    อาจารย์ : อาจารย์ติดธุระทางสาขา การเเต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีเทคนิคการจัดกิจกรรมการสอนทำCooking มีการเตรียมอุปกรณ์ที่พร้อมเเละเพียงพอขณะที่ทำกิจกรรมด้วย วันนี้นักศึกษาและอาจารย์รู้สึกสนุกสนานในการทำกิจกรรม

    ห้องเรียน    ห้องเรียนสะอาด เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา

    ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น